มารบ่มีบารมีบ่เกิด sin satanás no habrá carisma

มารบ่มีบารมีบ่เกิด sin satanás no habrá carisma

พระคาถาเยธัมมา - หัวใจพระพุทธศาสนา El discurso Yhedhamma (el corazón del budismo)

เยธัมมา เหตุปัปภวา(ธรรมเหล่าใด เกิดแต่เหตุ)Cualquier cosa tiene su causa เตสัง เหตุ ตถาคโต(พระตถาคตเจ้า ตรัสเหตุของธรรมเหล่านั้น)Buda habla sobre la causa de aguella cosa เตสัญจะโย นิโร โธจะ(และความดับของธรรมเหล่านั้น) y la extinción de aquella cosa เอวังวาที มหาสมโณติ(พระมหาสมณะ มีวาทะตรัสไว้ดังนี้) Así fué lo que dijo Buda

วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Bodhidarma:พระโพธิธรรม (ตั๊กม้อ) แปลโดย..Don Bigote



Sermón del despertar เทศนาธรรมแห่งการตื่นรู้
La esencia del Camino es el desapego. Y la meta de aquellos que practican es liberarse de las apariencias. Se dice en los sutras: «El desapego es despertar porque niega las apariencias». La budeidad significa atención sutil. Aquellos mortales cuyas mentes tienen atención natural alcanzan el Camino del despertar y por ello son llamados Buddhas. Se dice en los sutras: «Aquellos que se liberan a sí mismos de toda apariencia son llamados Buddhas». El aspecto de la apariencia como no apariencia no puede apreciarse visualmente sino que únicamente puede conocerse mediante la sabiduría. Cualquiera que escuche y crea esta enseñanza se embarcará en el Gran Vehículo y abandonará los tres reinos.
สาระสำคัญของมรรคคือความไม่ยึดมั่น ถือมั่น (สิ้นอุปปาทาน.) และจิตของผู้ปฏิบัติหลุดพ้นจากปรากฏการณ์ทั้งหลาย. ในพระสูตรกล่าวไว้ว่า: ((ความสิ้นอุปาทานคือการตื่นรู้เพราะมันจะปฏิเสธปรากฏการณ์ทั้งหลาย.)) พุทธภาวะหมายถึงการตื่นตัว. ปุถุชนทั้งหลายเหล่านั้นซึ่งมีจิตที่มีความตื่นตัวโดยธรรมชาติ ที่เข้าถึงซึ่งมรรคแห่งการตื่นรู้ ดังนั้น จึงถูกเรียกว่า พุทธะ. ในพระสูตรได้กล่าวไว้ว่า:((ผู้ที่หลุดพ้นตัวตน จากปรากฏการณ์ทั้งหมดย่อมได้ชื่อว่าเป็นพุทธะ.)) ลักษณะแห่งปรากฏการณ์ที่ไม่มีปรากฏการณ์ ย่อมไม่สามรถชื่นชมได้ด้วยตาเปล่า หากแต่สามารถรับรู้ได้ด้วยปัญญาเพียงทางเดียว. ผู้ใดที่ฟังและเชื่อในคำสอนนี้จะได้ร่วมโดยสารไปในยานที่ยิ่งใหญ่และจะได้ละทิ้งภูมิทั้งสาม.( โลภ โกรธ หลง )
Los tres reinos son codicia, aversión y confusión. Abandonar los tres reinos significa regresar desde la codicia, aversión y la confusión a la moralidad (el camino de la virtud natural sin culpabilidad), Contemplación (con amor benevolente) y la sabiduría (inteligencia natural encontrada en las enseñanzas). Codicia, aversión, y confusión no tienen naturaleza propia (sus aparentes raíces, son las Identidades), son ilusorias y cualquiera capaz de reflexionar verá que la naturaleza de la codicia, aversión y confusión es la naturaleza búdica.
ภูมิทั้งสามคือ โลภ โกรธ และ หลง. การละทิ้งภูมิทั้งสามหมายถึงการกลับจากโลภ โกรธ หลง มาสู่ศีล ( มรรคาแห่งความดีงามตามธรรมชาติปราศจากความผิดใดๆ ), สมาธิ ( ด้วยความรักแก่ผู้อื่น ) และปัญญา ( ความรอบรู้ตามธรรมชาติซึ่งพบได้ในคำสอนทั้งหลาย ).ความโลภ ความโกรธ, และ ความหลง ไม่มีธรรมชาติของตนเอง ( รากเหง้าแห่งลักษณะของมัน, เป็นสิ่งเฉพาะตัว ), เป็นมายาภาพ และใครก็ตามที่สามารถสะท้อนภาพมันออกมาได้ ก็จะเห็นว่า ธรรมชาติแห่งความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็คือธรรมชาติแห่งพุทธะ.
Más allá de codicia odio y confusión no hay otra naturaleza búdica. Se dice en los sutras: « Los budas sólo se han convertido en budas mientras vivían con los tres venenos y alimentándose del Dharma puro». Los tres venenos son codicia, odio y confusión.El Gran Vehículo es el más grande de los vehículos. Es el transporte de los bodhisattvas, que lo usan todo sin usarlo y que viajan todo el día sin viajar. Así es el vehículo de los bodhisattvas. Se dice en los sutras: «El no vehículo es el vehículo de los Buddhas».
เหนือความโลภ โกรธ หลง ย่อมไม่มีธรรมชาติแห่งพุทธะอื่นใดอีก. ในพระสูตรได้กล่าวไว้ว่า: พระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ได้เป็นพระพุทธเจ้าในขณะที่อยู่กับสามอสรพิษ และหล่อเลี้ยงตนเองด้วยธรรมที่บริสุทธิเท่านั้น. สามอสรพิษก็คือ โลภ, โกรธ, และ หลง.มหายานเป็นยานที่ใหญ่กว่ายานใดๆ. เป็นพาหนะของพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย, ซึ่งใช้มันโดยที่ไม่ต้องใช้ และเดินทางทั้งวันโดยที่ไม่ต้องเดินทาง. เช่นนี้คือยานแห่งพระโพธิสัตว์ทั้งหลาย. ในพระสูตรได้กล่าวไว้ว่า: การไม่มียาน คือยานของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
Cualquiera que comprenda que los seis sentidos no son reales, que los cinco agregados son ficciones, que ninguno de ellos puede ser localizado en parte alguna del cuerpo, comprende el lenguaje de los Budas. Se dice en los sutras: «La cueva de los cinco agregados es el vestíbulo del Chan. La apertura del ojo de la mente es la puerta del Gran Vehículo». No puede ser más claro.
ใครก็ตามที่เข้าใจ ว่าอายาตนะทั้งหกไม่ใช่ของจริง, เบญจขันธ์เป็นภาพลวงตา, ไม่มีสิ่งใดในสองสิ่งนี้จะสามารถตั้งอยู่ได้ในกายนี้, ก็จะเข้าใจภาษาของเหล่าพระพุทธเจ้า. ในพระสูตรได้กล่าวไว้ว่า: ถ้ำแห่งเบญจขันธ์คือห้องโถงของ เซน. การเปิดดวงตาแห่งจิต คือประตูของมหายาน. ชัดเจนกว่านี้ไม่มีอีกแล้ว.
No pensar en nada es Chan. Una vez que se sabe, caminar, estar de pie, sentarse o estirarse, todo lo que se haga, es Chan. Saber que la mente es vacío es ver al Buddha. Los Buddhas de las diez direcciones no tienen mente. Ver la no mente es ver al Buddha.Renunciar a uno mismo sin pesar es la caridad más grande. Trascender movimiento e inmovilidad es la mayor de las meditaciones. Los mortales no dejan de moverse, y los arhats permanecen inmóviles. Pero la más elevada de las meditaciones trasciende tanto la de los mortales como la de los arhats. Aquellos que alcanzan dicha comprensión se liberan a sí mismos de todas las apariencias sin esfuerzo y curan cualquier enfermedad sin tratamiento. Tal es el poder del gran Chan.
ไม่คิดถึงสิ่งใดเลยคือ เซน. เมื่อได้รู้จัก การเดิน, ยืน, นั่ง หรือ ยืดตัว, ทุกสิ่งที่ทำนั้นคือ เซน. รู้ว่าจิตคือความว่าง คือการเห็นพุทธะ. พระพุทธเจ้าทั้งสิบทิศไม่มีจิต. เห็นการไร้ซึ่งจิต คือเห็นพุทธะ.การละตัวตน(อัตตา)โดยปราศจากความเศร้าโศกเสียใจ ย่อมเป็นทานที่ยิ่งใหญ่. การอยู่เหนือความเคลื่อนไหว และ ความนิ่ง เป็นสิ่งสูงสุดของกรรมฐาน. ปุถุชนทั่วไปย่อมไม่หยุดเคลื่อนไหว, และพระอรหันต์ทั้งหลายย่อมหยุดนิ่ง. แต่กรรมฐานขั้นสูงสุดย่อมอยู่เหนือทั้งปุถุชนและพระอรหันต์. ผู้ที่หยั่งถึงความเข้าใจที่ว่านั้น จะละตัวตน จากปรากฎการณ์ทั้งหลาย โดยปราศจากความพยายาม และรักษาโรคต่างๆโดยการไม่ต้องรักษา. นี่คือพลังแห่งเซนที่ยิ่งใหญ่.
Usar la mente para buscar la realidad es ignorancia. No usar la mente para buscar la realidad es conocimiento. Liberarse uno mismo de las palabras es liberación. Permanecer sin mácula de polvo de sensación es permanecer en el Dharma. Trascender vida y muerte es abandonar el hogar.
การใช้จิตเพื่อค้นหาสัจธรรมคือ อวิชชา. ไม่ใช้จิตเพื่อค้นหาสัจธรรมคือการรู้จริง. การละอัตตา(ตัวตน)จากคำพูดทั้งปวงคือการหลุดพ้น. การดำรงอยู่โดยปราศจากมลทินธุลีแห่งเวทนา เป็นการดำรงอยู่ในพระธรรม. การอยู่เหนือชีวิตและความตายคือการละทิ้งเรือนชาน.
No sufrir otra existencia es alcanzar el Camino. No crear ignorancia es iluminación. Noaferrarse a la ignorancia es sabiduría. La no aflicción es el nirvana. Y la no apariencia dela mente es la otra orilla.
ไม่เป็นทุกข์กับภพอื่นคือการถึงซึ่งมรรคา. ไม่สร้างอวิชชาคือการรู้แจ้ง. ไม่มีอุปปาทาน(ยึดติด)กับอวิชชาคือปัญญาญาณ. ปราศจากความทุกข์ใจคือพระนิพพาน. และการปราศจากจิตคือการถึงซึ่งฟากฝั่ง.
Cuando eres ignorante, esta orilla existe. Pero cuando despiertas, deja de existir. Los mortales permanecen en esta orilla, pero aquellos que descubren el más grande de todos los vehículos no están ni en ésta ni en aquélla. Son capaces de vivir en ambas orillas. Aquellos que ven la otra orilla como diferenciada de ésta no comprenden el Chan.La ignorancia significa mortalidad. Y el conocimiento significa budeidad. No son lo mismo y tampoco son diferentes. Pero la gente distingue entre ignorancia y conocimiento. Cuando somos ignorantes hay un mundo al que escapar. Cuando somos conscientes, no hay nada donde escapar.
เมื่อคุณถูกอวิชชาเข้าครอบงำ, ฟากฝั่งนี้ก็ยังคงดำรงอยู่. แต่เมื่อไรที่คุณตื่นรู้, ฟากฝั่งนี้ก็จะอันตรธานไป. ปุถุชนทั้งหลายดำรงตนอยู่ฝั่งกะนี้, แต่เหล่าชนที่ค้นพบสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่ายานทั้งปวง จะไม่อยู่ทั้งฝั่งนี้และฝั่งโน้น. เค้าสามารถอยู่ได้ทั้งสองฝั่ง. กลุ่มชนที่เห็นความแตกต่างระหว่างฝั่งโน้นกับฝั่งนี้ ย่อมไม่เข้าใจ เซน.อวิชชาหมายถึงความตาย. และความรู้หมายถึงพุทธภาวะ. ไม่ใช่สิ่งเดียวกันแต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่แตกต่างกัน. แต่ผู้คนก็แยกแยะระหว่างอวิชชาและความรู้. เมื่อไรที่เราถูกอวิชชาครอบงำ ก็จะมีโลกให้เราได้หลบหนี. เมื่อไรที่เรามีสติสัมปชัญญะ, ก็ไม่มีที่ใดให้หลบหนี.
A la luz del Dharma imparcial. los mortales no son diferentes de los sabios. En los sutras se dice que el Dharma imparcial es algo que los mortales no pueden penetrar ni los sabios practicar. El Dharma imparcial sólo es practicado por los grandes Buddhas y bodhisattvas. Ver la muerte como algo diferente de la vida o el movimiento como algo diferente de la inmovilidad es ser parcial. Ser imparcial significa ver el sufrimiento como algo no diferenciado del nirvana, porque la naturaleza de ambos es el vacío. Al imaginar que pondrán fin al sufrimiento y entrarán en el nirvana, los arhats acaban atrapados por el nirvana. Pero los bodhisattvas saben que el sufrimiento es esencialmente vacío y permaneciendo en el vacío permanecen en el nirvana. Nirvana significa no nacimiento y no muerte. Está más allá de nacimiento y muerte y más allá del nirvana.
ในแสงสว่างแห่งธรรมะอันเท่าเทียม. ปุถุชนและปราชญ์ย่อมไม่แตกต่างกัน. ในพระสูตรได้กล่าวไว้ว่า ธรรมแห่งความเท่าเทียมเป็นสิ่งที่เหล่าปุถุชนเข้าไม่ถึง แม้กระทั่งนักปราชญ์ก็ไม่ได้ปฏิบัติ. ธรรมะแห่งความเท่าเทียมนี้มีเพียงเหล่าสัมมาสัมพุทธะและเหล่าพระโพธิสัตว์เท่านั้นที่ปฏิบัติ. การเห็นความตายเป็นอะไรที่แตกต่างจากการมีชีวิต หรือ ความเคลื่อนไหวเป็นอะไรที่แตกต่างจากการหยุดนิ่ง คือ อคติ. ความเสมอภาคหมายถึง การเห็นทุกข์เป็นสิ่งที่ไม่แตกต่างจากพระนิพพาน, เพราะธรรมชาติของทั้งสองสิ่งคือความว่าง. การจิตนาการว่าสามารถทำที่สุดแห่งทุกข์ และจะเข้าสู่พระนิพพาน, พระอรหันต์ทั้งหลายก็จะติดกับดักแห่งพระนิพพาน. แต่พระโพธิสัตว์ทั้งหลายนั้นรู้ว่าความทุกข์เป็นหัวใจของความว่าง และการดำรงอยู่ในความว่างคือการดำรงอยู่ในพระนิพพาน. พระนิพพานหมายถึงความไม่เกิด และ ไม่ตาย. อยู่เหนือการเกิดและการตาย และอยู่เหนือทั้งนิพพาน.
Cuando la mente deja de moverse, penetra en el nirvana. Nirvana es una mente vacía. Cuando no existe la ignorancia, los Buddhas alcanzan el nirvana. Cuando no existen las aflicciones, los bodhisattvas entran en el lugar de la despertar.
เมื่อไรที่จิตหยุดนิ่ง, ก็จะเข้าสู่พระนิพพาน. พระนิพพานคือจิตว่างอย่างหนึ่ง. เมื่อใดที่ไม่มีอวิชชา, พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เข้าสู่พระนิพพาน. เมื่อใดที่ปราศจากความทุกข์ทั้งปวง, เหล่าพระโพธิสัตว์ก็จะเข้าสู่แดนแห่งการตื่นรู้.
Un lugar deshabitado es uno sin codicia, odio ni confusión. La codicia es el reino del deseo, el odio el reino de la forma y la ignorancia el reino sin forma.
สถานที่ที่ว่างเปล่าก็คือคนที่ปราศจากโลภ,โกรธ,หลง. ความโลภคือ กามภูมิ, ความโกรธคือ รูปภูมิ, และ อวิชชาคือ อรูปภูมิ.
Cuando da comienzo un pensamiento se penetra en los tres reinos. El principio o fin de los tres reinos, la existencia o no existencia de todo, depende de la mente. Esto es aplicable a todo, incluso a objetos inanimados como rocas y palos.
เมื่อไรที่ความคิดเริ่มก่อตัวขึ้นก็จะเข้าสู่ภูมิทั้งสาม. จุดเริ่มต้นหรือสิ้นสุดของภูมิทั้งสาม, การมีและการไม่มีของสรรพสิ่ง, ล้วนขึ้นอยู่กับจิต. นี่สามารถใช้ได้กับทุกสิ่ง, รวมไปถึงสิ่งของที่ไม่เคลื่อนไหวอย่าง หินและ ท่อนไม้.
Cualquiera que sepa que la mente es una ficción y está vacía de cualquier cosa real, sabe que su propia mente ni existe ni no existe.Los mortales siguen creando la mente, proclamando que existe.Los arhats siguen negando la mente, proclamando que no existe.Pero los bodhisattvas y los Buddhas ni crean ni niegan la mente.( Sabe que NO HAY MENTE y NO HAY NO-MENTE)Eso es lo que significa que la mente ni existe ni no existe. La mente que ni existe ni no existe es lo que se denomina el Camino Medio.
ใครก็ตามที่รู้ว่าจิตเป็นสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงและว่างเปล่าจากสิ่งที่เป็นจริงใดๆ, ก็จะรู้ว่าจิตของเค้าเองนั้นทั้งมีและไม่มีอยู่จริง.ปุถุชนทั้งหลายยังคงสร้างจิตต่อไป, ป่าวร้องว่ามีอยู่จริง.พระอรหันต์ทั้งหลายยังคงปฏิเสธจิต, ป่าวร้องว่าไม่มีอยู่จริง.แต่เหล่าพระโพธิสัตว์และพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ไม่ทั้งสร้างและปฏิเสธจิต.( รู้ว่าไม่มีการมีจิตและไม่มีการไร้จิต) **และนี่คือความหมายของการมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของจิต. การมีหรือไม่มีอยู่ของจิตนั้นได้ชื่อว่าทางสายกลาง.(มัชฌิมา)
Si utilizas tu mente para estudiar la realidad, no entenderás ni tu mente ni la realidad. Si estudias la realidad sin utilizar la mente, entenderás ambas. Aquellos que no comprenden, no entienden el entendimiento. Y aquellos que comprenden, entienden el entendimiento. La gente capaz de verdadera visión sabe que la mente es vacío, trascienden tanto comprensión como no comprensión.
ถ้าคุณใช้จิตเพื่อศึกษาสัจธรรม, คุณก็จะไม่เข้าใจทั้งจิตและสัจธรรม.ถ้าคุณศึกษาสัจธรรมโดยไม่ใช้จิต, คุณก็จะเข้าใจทั้งสองสิ่ง. เขาเหล่านั้นที่ไม่เข้าใจ, ก็จะไม่เข้าใจความเข้าใจ. และเขาเหล่านั้นที่เข้าใจ, ก็จะเข้าใจความเข้าใจ. ผู้ที่สามารถเห็นอย่างถูกต้อง รู้ว่าจิตคือความว่างเปล่า, ก็จะรู้จักทั้งความเข้าใจและความไม่เข้าใจ.
La ausencia de comprensión y no comprensión es verdadera comprensión.
การปราศจากความเข้าใจ และ ความไม่เข้าใจ คือ ความเข้าใจที่แท้จริง
Vista con verdadera visión, la forma no es simplemente forma, porque la forma depende de la mente. Y la mente no es simplemente mente, porque la mente depende de la forma. Mente y forma crean y niegan una a la otra.
เห็นด้วยทัศนะแท้, รูปย่อมไม่ใช่เป็นเพียงแค่รูป, เพราะรูปอาศัยจิต. และจิตก็ย่อมไม่ได้เป็นเพียงแค่จิต, เพราะจิตอาศัยรูป.จิตและรูปต่างก็สร้างและปฏิเสธซึ่งกันและกัน.
********************************************

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น